if-then-else Statement คือ การสร้างเงื่อนไขให้กับการทำงานของโปรแกรมทั้งแบบ 1 ทิศทาง (if) และแบบอย่างน้อย 2 ทิศทาง (if - else) โดยมีประโยชน์อย่างมากสำหรับการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมเหตุการณ์ หรือกระบวนการทำงานต่าง ๆ
ภาพรวม if-then-else Statement
1. ใช้คำสั่ง if เพื่อสร้างเหตุการณ์ "ถ้า"
2. ใช้คำสั่ง else เพื่อสร้างเหตุการณ์มารองรับทางเลือก
3. สามารถใช้คำสั่ง if อย่างเดียวก็ได้ แต่ else จำเป็นจะต้องใช้งานพร้อมกับคำสั่ง if
4. if else แนะนำให้ใช้เฉพาะเวลาสร้างเงื่อนไขแบบอย่างน้อย 2 ทิศทาง
5. ในกรณีที่มีเหตุการณ์เดียวเกิดขึ้นใน if และไม่มีการใช้ else ไม่จำเป็นต้องคลุมเครื่องหมายปีกกา
ตัวอย่างโปรแกรม
public class IfElse {
public static void main(String args[]){
int a = 5;
int b = 10;
if( a == 5 )
System.out.println( "a = 5" );
if( b == 10 ) {
System.out.println( "b = 10" );
System.out.println( "a = 5" );
}
if( a == 5 ) {
System.out.println( "a = 5" );
} else {
System.out.println( "a != 5" );
}
if( b == 10 ){
System.out.println( "b = 10" );
} else if( b == 5 ){
System.out.println( "b = 5" );
} else {
System.out.println( "b value is empty");
}
}
}
ผลลัพธ์